ในการตัดสินใจต่างๆ บางครั้ง บางคนใช้ "ลูกแก้ว" หรือ "ลางสังหรณ์" ไม่ได้คิดอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ไม่มีข้อมูล (เพียงพอ) ประกอบการตัดสินใจ ดร.โสภณ มีข้อแนะนำ
ดร.โสภณ พรโชคชัย ประธานศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก.เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส (www.area.co.th) ในฐานะนักธุรกิจและเจ้าของกิจการ SMEs ขอแบ่งปันประสบการณ์ในการตัดสินใจซึ่งต้องอาศัย
1. ข้อมูลที่เพียงพอ (Data Collection)
2. การวินิจฉัยข้อมูล (Diagnosis)
3. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis)
ถ้าไม่มีข้อมูลที่เพียงพอ ไม่ผ่านกระบวนการนี้ โอกาสที่จะตัดสินใจผิดพลาดมีสูงมาก เราจะสุ่มเสี่ยงไม่ได้
ตัดสินใจอย่างไรให้ไม่ผิดพลาด https://fb.watch/k8jBhQxcXZ/ .
ตัดสินใจอย่างไรให้ไม่ผิดพลาด https://youtu.be/bvLum7VlN18 .
ตัดสินใจอย่างไรให้ไม่ผิดพลาด https://vt.tiktok.com/ZS836y19E/ .